สุจิตรา สุวรรณรัตน์

วันพฤหัสบดีที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทินครั้งที่่ 5




บันทึกอนุทิน

วิชา  การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็จปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ  แจ่มถิน

วัน/เดือน/ปี     12 กรกฎาคม 2556

ครั้งที่  5  เวลาเรียน  8.30-12.20

            เวลาเข้าสอน  8.30  เวลาเข้าเรียน  8.30  เวลาเลิกเรียน 11.00

วันนี้คุณครูตฤณให้วาดรูปสิ่งของที่ตัวเองรักที่สุด แล้วให้บอกว่าใครให้มาแล้วตอนนี้ยังมีอยู่รึเปล่าพอวาดเสร็จคุณครูออกให้ออก ไปพูดความเป็นมาในสิ่งของที่เราวาดส่วนดิฉันเองได้รูปสนุขไปเพราะเป็นสิ่ง ที่ดิฉันรักมากที่สุดเพราะคุณพ่อได้ซื้อมาให้ดิฉันเองเพราะตอนนั้นดิฉันอยาก ได้มากมาวันหนึ่งดิฉันได้ไปโรวเรียนตอนกลับมาถึงบ้านสุนัขของฉันก็ไม่อยู่ แล้วเพราะถูกรถชนจนเสียชีวิตดิฉันโกรธคุณแม่มากเพราะได้ปล่อยสุนัขไปวิ่ง เล่นจนถูกรถชนคะพอทุกออกพูดเสร็จคุณครูตฤณก็ได้สอนเนื้อหาเกี่ยวกับองค์ ประกอบของภาษา แนวคิดนักการศึกษา และ แนวคิดของ O.Hobart Mowrer

เนื้อหา


                   องค์ประกอบของภาษา

1.Phonolcgy คือ 
  • ระบบเสียงของภาษา
  • เสียงที่มนุษย์เปล่งออกเสียงมาเพื่อสื่อความหมาย
  • หน่วยเสียงจะประกอบชึ้นเป็นคำในภาษา
2.Semantic คือ 
  • ความหมายของภาษาและคำศัพท์
  • คำศัพท์บางคำสามารถมีได้หลายความหมาย
  • ความหมายเหมือนกันแต่ใช้คำศัพท์ต่างกัน
3.Syntax คือ 
  • ระบบไวยกรณ์
  • การเรียงรูปประโยค

4.Pnagmaic คือ 
  • ระบบการนำไปใช้
  • ใช้ภาษาให้ถูกต้องตามาสถานการณ์และกาลเทศะ
แนวคิดนักการศึกษา


  1. แนวคิดของกลุ่มพฤติกรรมนิยม ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Skinner 
สิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อพัฒนาการทางภาษา
ให้ความสำคัญกับสิ่งเร้าและการตอบสนอง



Lohn B.Watson

  • ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคาลสสิก
  • การวางเงื่อนไขพฤติกรรมของเด็กเป็นสิ่งที่สามารถทำได้และผู้ใหญ่สามารถทีจะวางเงื่อนไขให้เด็กเกิดพฤติกรรมที่พึงประสงค์ได้ทุกฟฤติกรรม

แนวคิด Watson

หากมองเด็ฏทารกที่มีสุขภาพดีกับเขา 12 คน เขาจะสามารถที่จะฝึกให้เด็กแต่คนเป็นสิ่งที่เขาเลือกไว้ให้ได้ไม่ว่าจะเป็นแพทย์ ทนาย ศิลปิน นักธุรกิจหรือโจร
นักพฤติกรรมนิยมเชื่อว่า

  • ภาษาเป็นกระบวนการภายในของมนุษย์
  • การเรียนภาษาในผลจาการปรับพฤติกรรมโดยสิ่งแวดล้อม
  • เด็กเกิดมาโดยมีศักยภาพในการเรียนรู้ภาษา
  • เด็กจะสังเกตและเลียนแบบพฤติกรรมเมื่อมีปฎิบัติสัมพันธ์กับบุคคลรอบตัว
  • เมื่อได้รับรองเสริมจะทำให้เด็กเลียนแบบตัวแบบมากขึ้น
 2.แนวคิดกลุ่มพัฒนาการด้านสติปัญญา
Piagrt

  • เด็กเรียนรู้จากการมีปฎิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
  • ภาษาเป็นสิ่งที่แสดงให้เป็นระดับพัฒนาการทางสติปัญญา

Vygotsky

  • เด็กเรียนรู้จากการมีปฎิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
  • สังคม บุคคลรอบข้าง มีผลต่อการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
  • เน้นบทบาทของผู้ใหญ่
  • ผู้ใหญ่ควรช่วยชี้แนะและขยายประสบการณ์ด้านภาษาของเด็ก
3.แนวคิดของกลุ่มที่เชื่อเรื่องความพร้อมทางด้านร่างกาย
Arnold Gesell

  • เน้นความพร้อมทางด้านร่างกายในการใช้ภาษา
  • ความพร้อมวุฒิภาวะของเด็กแต่ละคนไม่เท่ากัน
  • เด็ฏบางคนอาจจะมีความพร้อมทางร่างกายในการใช้ภาษาได้เร็ว
  • เด็กบางตัคนอาจมีปัญหาอวัยวะบางส่วนที่ใช้ภาษาในการสื่อสารบกพร่อง
4.แนวคิดของกลุ่มเชื่อเรื่องว่าภาษาติดตัวมาตั้งแต่เกิด
Neam Chomsky

  • ภาษาเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในตัวมนุษย์
  • การเรียนรู้ภาษาขึ้นอยู่กับวุฒิภาวะ
  • มนุษย์เกิดมาโดยมีศักยภาพในการเรียนรู้ภาษามาตั้งแต่เกิด
แนวคิดของ O.Hobart Mowrer
คิดค้นทฤษฎีความพึงพอใจ

        ความสามารถในการฟังและความเพลิดเพลินจากการได้ยินเสียงผู้อื่น และเสียงตัวเองเป็นสิ่งคำคัญอย่างยิ่งต่อพัฒนาการทางภาษา

        แนวทางในการจัดประสบการณ์ทางภาษา

  • เป็นสิ่งที่สะท้อนปรัชญาและความเชื่อของครูเกี่ยวกับเรียนรู้ภาษาของเด็ก
  • นำไปสู้การกำหนดกระบวนการที่ใช้อย่างแตกต่างกัน

         Richard and Rodger (1995) ได้แบ่งกลุ่มภาษาในการจัดประสบการณ์

1.มุมมองด้านโครงสร้างของภาษา

  • นำองค์ประกอบย่อยของภาษามาใช้ในการสื่อความหมาย
  • เสียง ไวยกรณ์ การประกอบคำเป็นวลี หรือประโยค

2.มุมมองด้านหน้าที่ของภาษา

  • เชื่อว่าภาษาเป็นเครื่องมือสำหรับสื่อความหมาย
  • ควรจัดประสบกรณ์เน้นการสื่อความหมาย
  • ไม่ได้ละทิ้งแบบแผนหรือไวยกรณ์

3.มุมมองด้านปฎิสัมพันธ์

  • เชื่อว่าภาษาเป็นเครื่องมือในการสร้างความสัมพันธ์ทางสังคม
  • การแลกเปลื่ยนประสบการณ์
  • เด็กมีปฏิสัมพันธ์ผ่านการใช้ภาษา


ชื่อ นางสาว สุจิตรา สุวรรณรัตน์

หมายเหตุ   ไม่มีคะ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น